ภายหลัง ของ วาเลรี เลกาซอฟ

เลกาซอฟได้ทำการการฆ่าตัวตาย ทำให้เกิดการตื่นตัวของในอุตสาหกรรมนิวเคลียร์ของสหภาพโซเวียต โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเกี่ยวกับการออกแบบ แท่งควบคุม ใน เครื่องปฏิกรณ์แบบ RBMK ตัวอื่น ๆ ที่ใช้แบบเดียวกับเชอร์โนบิล ให้ได้รับการยอมรับและแก้ไขอย่างรวดเร็ว[8][11]

เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2539 บอริส เยลต์ซิน ประธานาธิบดีรัสเซียในขณะนั้น ได้ลงนามยกย่องให้เลกาซอฟเป็น ฮีโร่แห่งสหพันธรัฐรัสเซีย สำหรับ "ความกล้าหาญและวีรบุรุษ" จากการสืบสวนหายนะที่เกิดขึ้น [12]

ใกล้เคียง

แหล่งที่มา

WikiPedia: วาเลรี เลกาซอฟ http://www.apnewsarchive.com/1988/Chemist-Investig... //doi.org/10.1080%2F00963402.1993.11456385 https://legasovtapetranslation.blogspot.com/ https://books.google.com/?id=e5t5DwAAQBAJ&pg=PA352... https://books.google.com/books?id=G_FVAAAAYAAJ https://books.google.com/books?id=JJqvCwAAQBAJ https://books.google.com/books?id=UoPVBgAAQBAJ https://books.google.com/books?id=Y3MJq8w8sKsC https://books.google.com/books?id=byrvAAAAMAAJ https://books.google.com/books?id=pQwAAAAAMBAJ&pg=...